วันพฤหัสบดีที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

แบบฝึกหัดท้ายบท

แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่ 3
ส่วนที่ 1 จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด
1. ข้อเท็จจริงที่เก็บรวบรวมมาได้ เรียกว่า
ตอบ ก. ข้อมูล

2. ข้อมูลใด เป็นข้อมูลที่สามารถนำไปคำนวณได้
ตอบ ง. น้ำหนัก

3. ข้อมูลใด จัดเป็นข้อมูลตัวอักษร
ตอบ ข. เลขประจำตัว

4. ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล เรียกว่า
ตอบ ข. สารสนเทศ

5. หน่วยของข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด คือ
ตอบ ค. บิต

6. รหัสแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์แทนด้วยเลขฐานใด
ตอบ ค. เลขฐานสอง

7. ตัวอักษร 1 ตัว ในระบบคอมพิวเตอร์ เรียกว่า
ตอบ ก. เขตข้อมูล

8. หน่วยของข้อมูลที่ประกอบด้วยอักขระตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป เรียกว่า
ตอบ ข. ไบต์
9. การำเขตข้อมูลหลายๆ เขตข้อมูลมารวมกัน เกิดเป็นข้อมูลเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เรียกว่า
ตอบ ง. ระเบียน

10. การนำข้อมูลตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป ที่เป็นเรื่องเดียวกันมารวมกัน เรียกว่า
ตอบ ข. แฟ้มข้อมูล


11. การนำแฟ้มข้อมูลที่เกี่ยวข้องมารวมกัน จะเกิดเป็น
ตอบ ก. ฐานข้อมูล

12. การแบ่งประเภทข้อมูล โดยพิจารณาจากองค์กร จะแบ่งได้เป็น
ตอบ ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.

13. การแบ่งประเภทข้อมูลโดยพิจารณาจากการนำข้อมูลไปใช้งาน จะแบ่งได้เป็น
ตอบ ก. ข้อมูลที่ใช้ในการปฏิบัติงาน และใช้ในการบริหาร

14. ลักษณะข้อมูลที่ดี ประกอบด้วย
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ

15. ปัญหาที่สำคัญที่ทำให้เกิดความต้องการใช้ฐานข้อมูล (Database)
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ




บทที่4
เรื่อง การประมวลผลข้อมูล

1. การจัดเก็บข้อมูลที่รับเข้ามาด้วยวิธีต่าง ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ เรียกว่า
ตอบ ค.การประมวลผลข้อมูล
2. ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลข้อมูล เรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า
ก.สารสนเทศ
3. ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล ประกอบด้วย
ตอบ ง.ข้อ ก. ข. และ ค. ประกอบกัน
4. การรับข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ ทำผ่านทางใด
ตอบ ค.หน่วยรับข้อมูล
5. ข้อใดต่อไปนี้ แสดงขั้นตอนการประมวลข้อมูลได้อย่างถูกต้อง
ตอบ
รับข้อมูล
ประมวลผล
แสดงผล ข.

6. ข้อใดไม่ใช่ประเภทของการประมวลผลข้อมูล
ตอบ ข.การประมวลผลด้วยเครื่องคิดเลข
7. การประมวลผลข้อมูลวิธีใด ที่เหมาะจะใช้กับงานที่มีปริมาณข้อมูลน้อย และมีขั้นตอนการประมวลผลไม่ซับซ้อน
ตอบ ค.การประมวลผลด้วยมือ
8. การประมวลผลข้อมูลวิธีใด ที่ต้องใช้ทั้งแรงงานคนและเครื่องจักรผสมกัน
ตอบ ง.การประมวลผลด้วยเครื่องจักร
9. การประมวลผลข้อมูลวิธีใด ที่เหมาะจะใช้กับงานที่มีปริมาณข้อมูลต่าง ๆ ต้องการความรวมเร็วและขั้นตอนการประมวลผลที่ซับซ้อน
ตอบ ก.การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์
10. EDP เป็นการประมวลผลข้อมูลด้วยวิธีใด
ตอบ ก.การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์
11. ข้อใดจัดเป็นกรรมวิธีในการประมวลผลข้อมูล
ตอบ ง.ถูกทุกข้อ
12. ขั้นตอนการนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มาบันทึกเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ จัดเป็นขั้นตอนใด ในกรรมวิธีการประมวลผลข้อมูล
ตอบ ข.การบันทึกข้อมูล
13. ขั้นตอนการนำข้อมูลที่บันทึกเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์แล้วนำไปจัดเก็บลงในแฟ้มข้อมูล จัดเป็นขั้นตอนใดในกรรมวิธีการประมวลผลข้อมูล
ตอบ ค.การจัดเก็บข้อมูล
14. กรณีที่แฟ้มข้อมูลจริงเสียหายก็จะนำข้อมูลที่สำรองมาติดตั้งลงในระบบคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานแทน เราเรียกขั้นตอนนี้ว่าอะไร
ตอบ ง.การกู้ข้อมูล
15. การสือข้อมูลทำได้โดยวิธีใดบ้าง
ตอบ ง.ถูกทุกข้อ


บทที่4
เรื่อง การประมวลผลข้อมูล

1. การจัดเก็บข้อมูลที่รับเข้ามาด้วยวิธีต่าง ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ เรียกว่า
ตอบ ค.การประมวลผลข้อมูล
2. ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลข้อมูล เรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า
ก.สารสนเทศ
3. ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล ประกอบด้วย
ตอบ ง.ข้อ ก. ข. และ ค. ประกอบกัน
4. การรับข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ ทำผ่านทางใด
ตอบ ค.หน่วยรับข้อมูล
5. ข้อใดต่อไปนี้ แสดงขั้นตอนการประมวลข้อมูลได้อย่างถูกต้อง
ตอบ
รับข้อมูล
ประมวลผล
แสดงผล ข.

6. ข้อใดไม่ใช่ประเภทของการประมวลผลข้อมูล
ตอบ ข.การประมวลผลด้วยเครื่องคิดเลข
7. การประมวลผลข้อมูลวิธีใด ที่เหมาะจะใช้กับงานที่มีปริมาณข้อมูลน้อย และมีขั้นตอนการประมวลผลไม่ซับซ้อน
ตอบ ค.การประมวลผลด้วยมือ
8. การประมวลผลข้อมูลวิธีใด ที่ต้องใช้ทั้งแรงงานคนและเครื่องจักรผสมกัน
ตอบ ง.การประมวลผลด้วยเครื่องจักร
9. การประมวลผลข้อมูลวิธีใด ที่เหมาะจะใช้กับงานที่มีปริมาณข้อมูลต่าง ๆ ต้องการความรวมเร็วและขั้นตอนการประมวลผลที่ซับซ้อน
ตอบ ก.การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์
10. EDP เป็นการประมวลผลข้อมูลด้วยวิธีใด
ตอบ ก.การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์
11. ข้อใดจัดเป็นกรรมวิธีในการประมวลผลข้อมูล
ตอบ ง.ถูกทุกข้อ
12. ขั้นตอนการนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มาบันทึกเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ จัดเป็นขั้นตอนใด ในกรรมวิธีการประมวลผลข้อมูล
ตอบ ข.การบันทึกข้อมูล
13. ขั้นตอนการนำข้อมูลที่บันทึกเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์แล้วนำไปจัดเก็บลงในแฟ้มข้อมูล จัดเป็นขั้นตอนใดในกรรมวิธีการประมวลผลข้อมูล
ตอบ ค.การจัดเก็บข้อมูล
14. กรณีที่แฟ้มข้อมูลจริงเสียหายก็จะนำข้อมูลที่สำรองมาติดตั้งลงในระบบคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานแทน เราเรียกขั้นตอนนี้ว่าอะไร
ตอบ ง.การกู้ข้อมูล
15. การสือข้อมูลทำได้โดยวิธีใดบ้าง
ตอบ ง.ถูกทุกข้อ






บทที่4
เรื่อง การประมวลผลข้อมูล

1. การจัดเก็บข้อมูลที่รับเข้ามาด้วยวิธีต่าง ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ เรียกว่า
ตอบ ค.การประมวลผลข้อมูล
2. ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลข้อมูล เรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า
ก.สารสนเทศ
3. ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล ประกอบด้วย
ตอบ ง.ข้อ ก. ข. และ ค. ประกอบกัน
4. การรับข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ ทำผ่านทางใด
ตอบ ค.หน่วยรับข้อมูล
5. ข้อใดต่อไปนี้ แสดงขั้นตอนการประมวลข้อมูลได้อย่างถูกต้อง
ตอบ
รับข้อมูล
ประมวลผล
แสดงผล ข.

6. ข้อใดไม่ใช่ประเภทของการประมวลผลข้อมูล
ตอบ ข.การประมวลผลด้วยเครื่องคิดเลข
7. การประมวลผลข้อมูลวิธีใด ที่เหมาะจะใช้กับงานที่มีปริมาณข้อมูลน้อย และมีขั้นตอนการประมวลผลไม่ซับซ้อน
ตอบ ค.การประมวลผลด้วยมือ
8. การประมวลผลข้อมูลวิธีใด ที่ต้องใช้ทั้งแรงงานคนและเครื่องจักรผสมกัน
ตอบ ง.การประมวลผลด้วยเครื่องจักร
9. การประมวลผลข้อมูลวิธีใด ที่เหมาะจะใช้กับงานที่มีปริมาณข้อมูลต่าง ๆ ต้องการความรวมเร็วและขั้นตอนการประมวลผลที่ซับซ้อน
ตอบ ก.การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์
10. EDP เป็นการประมวลผลข้อมูลด้วยวิธีใด
ตอบ ก.การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์
11. ข้อใดจัดเป็นกรรมวิธีในการประมวลผลข้อมูล
ตอบ ง.ถูกทุกข้อ
12. ขั้นตอนการนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มาบันทึกเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ จัดเป็นขั้นตอนใด ในกรรมวิธีการประมวลผลข้อมูล
ตอบ ข.การบันทึกข้อมูล
13. ขั้นตอนการนำข้อมูลที่บันทึกเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์แล้วนำไปจัดเก็บลงในแฟ้มข้อมูล จัดเป็นขั้นตอนใดในกรรมวิธีการประมวลผลข้อมูล
ตอบ ค.การจัดเก็บข้อมูล
14. กรณีที่แฟ้มข้อมูลจริงเสียหายก็จะนำข้อมูลที่สำรองมาติดตั้งลงในระบบคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานแทน เราเรียกขั้นตอนนี้ว่าอะไร
ตอบ ง.การกู้ข้อมูล
15. การสือข้อมูลทำได้โดยวิธีใดบ้าง
ตอบ ง.ถูกทุกข้อ








แบบประเมินผลการเรียนรู้ บทที่ 5
คอมพิวเตอร์ทำงานกับข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบของเลขฐานใด
ตอบ ก.เลขฐานสิบ
ตัวเลขในระบบเลขฐานสอง ประกอบด้วย
ตอบ ง.0 ถึง 1
ตัวเลขในระบบเลขฐานแปด ประกอบด้วย
ตอบ ค. 0 ถึง 7
ตัวเลขในระบบเลขฐานสิบ ประกอบด้วย
ตอบ ข. 0 ถึง 9
ตัวเลขในระบบเลขฐานสิบหก ประกอบด้วย
ตอบ ก. 0 ถึง F
(111) มีค่าเท่าใดในฐานสิบ
2
ตอบ ค. 7
12 มีค่าเป็นเท่าใดในเลขฐานสิบ
ตอบ ง.(1100)
2

ตัวเลขในข้อใดไม่ถูกต้อง
ตอบ ก. ( 110)
8

9. ค่า (132)

ตอบ ก .90
10. 797 มีค่าเป็นเท่าใดในเลขฐานสิบ
ตอบ (1435)
8
11. (13A) มีค่าเป็นเท่าใดในเลขฐานสิบ
16

ตอบ ง. 314

12. 331 มีค่าเป็นเท่าใดในเลขฐานสิบ
ตอบ ข. ( 14B)
6

13. รหัสแทนข้อมูลชนิดแรกที่เกิดขึ้น คือรหัสใด
ตอบ ข. BCD
14. รหัสมาตรฐานที่ใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ คือ รหัสใด
ตอบ ก. ASCII
15. รหัสแทนข้อมูลที่ใช้กับเครื่อง IBM ระดับมินิคอมพิวเตอร์ขึ้นไป คือรหัสใด
ตอบ ค. EBCDIC






บทที่ 6


1ที่เก็บรวบรวมข้อมูลหลาย ๆ ระเบียน ซึ่งเป็นเรื่องเดียวกัน เรียกว่า
ตอบ ข แฟ้มข้อมูล
2ข้อใดไม่ใช่ชนิดของแฟ้มข้อมูลที่แบ่งตามลักษณะของข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ในแฟ้ม
ตอบ ข แฟ้มรายงาน
3แฟ้มข้อมูลที่เก็บข้อมูลไว้อย่างค่อนข้างถาวร และมีความทันสมัยอยู่ตลอดเวลาคือ
ตอบ ง แฟ้มหลัก
4แฟ้มข้อมูลใดที่เก็บรายการเปลี่ยนแปลง เพื่อนำไปปรับปรุงแฟ้มข้อมูลหลักต่อไปนี้
ตอบ ข แฟ้มรายการเปลี่ยนแปลง
4แฟ้มชนิดใดใช้เก็บผลที่เกิดขึ้นจากการจัดการของแฟ้มอื่น ๆ
ตอบ ก แฟ้มควบคุม
5ข้อใดเป็นชนิดของแฟ้มข้อมูลที่แบ่งตามลักษณะการใช้งาน
ตอบ ง ถูกทุกข้อ
6แฟ้มหลักสามารถจัดเป็นแฟ้มชนิดใดได้
ตอบ ข แฟ้มแสดงผล
7การจัดระเบียนแฟ้มข้อมูลในระดับเบื้องต้นสามารถแบ่งได้เป็น
ตอบ ก แฟ้มข้อมูลแบบลำดับและแฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม
8แฟ้มข้อมูลชนิดใดที่จัดเก็บระเบียนต่าง ๆ เรียงต่อกันอย่างต่อเนื่องตามลำดับ
ตอบ ก แฟ้มข้อมูลแบบลำดับ
9การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลแบบลำดับ สามารถจัดเก็บในสื่อบันทึกแบบใด
ตอบ ง ถูกทุกข้อ
10การจัดเก็บระเบียนข้อมูลตามลำดับคีย์หลักในแฟ้มข้อมูลแบบลำดับ เป็นการจัดเก็บในลักษณะใด
ตอบ ค Order file
11การจัดเก็บระเบียนข้อมูลแบบไม่เรียงตามลำดับคีย์หลักในแฟ้มข้อมูลแบบลำดับ เป็นการจัดเก็บในลักษณะใด
ตอบ Pile
12ข้อใดเป็นข้อจำกัดของแฟ้มข้อมูลแบบลำดับ
ตอบ ง ถูกทุกข้อ
13แฟ้มข้อมูลชนิดใดที่มีการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่งที่เก็บข้อมูลกับเขตข้อมูลที่เป็นเขตหลัก
ตอบ ค แฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม
14แฟ้มข้อมูลชนิดใดที่สามารถเข้าถึงระเบียนที่ต้องการได้โดยตรง
ตอบ ค แฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม
15แฟ้มข้อมูลชนิดใดที่ทุกระเบียนมีขนาดเท่ากัน
ตอบ ข แฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม
16ข้อใดเป็นข้อมูลจำกัดของแฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม
ตอบ ง เปลืองเนื้อที่เก็บข้อมูลในสื่อบันทึก

17แฟ้มข้อมูลชนิดใดที่สามารถเข้าถึงระเบียนที่ต้องการได้ทั้งแบบลำดับและแบบสุ่ม
ตอบ ง ถูกทั้ง ข และค
18การสร้างแฟ้มข้อมูลแบบลำดับดรรชนีวิธีใด ทีมีการแบ่งเนื้อที่เป็นส่วนที่ใช้เก็บดรรชนี และส่วนที่ใช้เก็บข้อมูล
ตอบ ง ถูกทั้ง ข และค
19ส่วนเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลแบบลำดับดรรชนี ที่สร้างด้วยวิธี Prime and Overflow Data Area มีการแบ่งเนื้อที่ส่วนใดบ้าง
ตอบ ง ถูกทั้ง ข และค
20ส่วนเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลแบบลำดับดรรชนี ที่สร้างด้วยวิธี Prime and Overflow Data Area ข้อใดไม่ใช่การแบ่งดรรชนี
ตอบ Sector Index
21ส่วนเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลแบบลำดับดรรชนี ที่สร้างด้วยวิธี Index and data blocks มีโครงสร้างเป็นแบบใด
ตอบ ค แบบต้นไม้
22แฟ้มข้อมูลชนิดใดที่สามารถมีคีย์หลักได้หลายตัว
ตอบ ง แฟ้มข้อมูลแบบหลายคีย์
23ในแฟ้มข้อมูลหลายคีย์ การจัดระเบียนแฟ้มแบบใดที่ใช้วิธีผกผันระหว่างความสัมพันธ์ของระเบียนกับค่าขอคีย์หลัก
ตอบ ก การจัดระเบียนแบบแฟ้ม Inverted
24ในแฟ้มข้อมูลแบบหลายคีย์ การจัดระเบียนแฟ้มแบบใดที่ใช้วิธีผกผันระหว่างคีย์รองกับคีย์หลัก
ตอบ ก การจัดระเบียนแฟ้มแบบ Inverted
25ในแฟ้มข้อมูลแบบหลายคีย์ การจัดระเบียนแฟ้มแบบใดที่มีการใช้ Linked list ช่วยในการค้นหาข้อมูล
ตอบ ข การจัดระเบียนแฟ้มแบบ Multi - List
26ในแฟ้มข้อมูลแบบหลายคีย์ การจัดระเบียนแฟ้มแบบใดที่ใช้การเชื่อมโยงค่าของคีย์รองเช้า
ตอบ ข การจัดระเบียนแฟ้มแบบ Multi - List
27ข้อใดเป็นวิธีการประมวลผลแฟ้มข้อมูล
ตอบ ง ถูกทั้ง ก และข
28On – Line Processing เป็นการประมวลผลแบบใด
ตอบ แบบโต้ตอบ
29การประมวลผลแบบใดที่มีการปรับปรุงข้อมูลทันทีที่เกิดรายการ
ตอบ ง ถูกทั้ง ก และ ข

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น